วันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่ 9 วันที่ 20เมษายน 2560 (เรียนชดเชย)






ความรู้ที่ได้

สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์

หน่วยอาหารดีมีประโยชน์










  • ร้องเพลงในขั้นนำเเละถามเด็กๆว่าในเนื้อเพลงมีประเภทอะไรบ้าง
  • ครูให้เด็กๆดูรูปภาพอาหารในหมู่ต่างๆ จากนั้นครูให้เด็กนับ1-5 เพื่อเเบ่งกลุ่มเด็ก
  • เด็กนั่งเป็นกลุ่ม ครูก็เเจกจิ๊กซอล
  • ให้เด็กช่วยกันตอรูปภาพอาหารในหมู่ๆต่างๆ 
  • จากนั้นครูก็สรุปสิ่งที่เด็กได้เรียนรู้เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่








  • ครูอ่านคำคล้องจองให้เด็กๆฟัง ในคำคล้องจองมีชื่ออาหารอะไรบ้าง
  • ครูขอตัวเเทนเด็กๆออกมาหยิบภาพเพื่อเเบ่งตามหมวดหมู่และให้เด็กติดภาพ .
  • ครูแบ่งตารางเป็น 2 ช่อง คือ คาร์โบไฮเดรต กับโปรตีน
  • จากนั้นครูก็สรุปให้เด็กฟังว่ามีอะไรบ้าง

หน่วยข้าว




  • โดยครูร้องเพลงข้าวให้เด็กๆฟัง
  • จากนั้นครูอธิบายว่าข้าวมีสายพันธ์อะไรบ้าง
  • เเละให้เด็กๆได้สังเกตความเเตกต่างของข้าวเเต่ละสายพันธุ์


  • ข้อเสนอแนะ
  • ข้าวควรเอาใส่ถุง แล้วนับจำนวน พร้อมกับติดตัวเลขกำกับ
  • แยกสายพันธ์ข้าว นับจำนวนสายพันธ์ไหนหมดทีหลังแสดงว่ามีจำนวนมากว่า








  • ครูอ่านคำคล้องจองให้เด็กๆฟัง
  • จากนั้นให้เด็กๆสังเกตความเเตกต่างระหว่างข้าวสารเเละข้าวเหนียว 
  • ให้เด็กๆช่องกันบอกลักษณะของข้าว ทั้ง 2 ชนิด
  • จากนั้นครูเปรียบเทียบให้เด็กเห็นความเเตกต่างของข้าวทั้ง 2 ชนิด





หน่วยผักสดสะอาด





  • ดยครูร้องเพลงผักสดสะอาดให้เด็กๆฟัง
  •  ให้เด็กๆช่วยกันบอกในเนื้อเพลงมีส่วนประกอบของผักมีอะไรบ้าง เช่น ราก ลำต้น ดอก ใบ
  • จากนั้นครูนำแครอทเเละผักบุ้งมาให้เด็กๆสังเกตความเเตกต่างเเละเปรียบเทียบให้เด็กๆได้เด็กลักษณะของผักทั้ง 2 ชนิด








การนำไปใช้
นเเต่ละหน่วยวันเเรกในการสอนควรเขียนบันทึกในอีกชาร์จหนึ่งที่เป็นเเผนผังมายเเม็ปปิ้งไว้เพื่อเป็นหัวเรื่องเเละทำให้เด็ฏได้รู้ว่าเรียนเรื่องนี้ไปแล้วรูปแบบที่จะนำมาใช้ เช่น ตาราง แผนผัง การเเตกความคิดที่เด็กสามารถเข้าใจได้ง่ายการสรุปทบทวนก่อนการจบเรื่องที่สอนเพื่อทบทวนสิ่งที่เด็กได้เรียน
สามารถนำความรู้และเทคนิคต่างๆที่ได้จากการสอนและการคอมเม้นต์จากอาจารย์มาปรับใช้กับตนเองและนำไปปรับใช้ในการสอนได้ในอนาคต



เทคนิคที่ใช้
  • เรื่องของการใช้เพลง ให้นำเพลงหรือการนำคำคล้องจองที่เกี่ยวกับหน่วยที่เรียนเพื่อดึงดูดความสนใจเด็กๆ
  • การใช้ำคำพูดหรือคำที่เหมาะสมเพื่อที่เด็กจะได้เข้าใจง่ายขึ้น
  • การนำสื่อมาช่วยในการสอนจะช่วยกระตุ้นให้เด็กอยากเรียนรู้มากขึ้น



ประเมินตนเอง
  ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน ไม่พูดคุยกันเสียงดัง เตรียมตัว พร้อมในการมาสอน

ประเมินเพื่อน
เพื่อนเตรียมความพร้อม ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังให้ความรู้เพิ่มเติม มีเพื่อนบางคนมาเรียนสาย

ประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งกายมาสอนเหมาะสม ให้ความรู้เพิ่มเติมสอดแทรกตลอดการสอนทำให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้นและถูกต้อง

ประเมินห้องเรียน
  อุปกรณ์อำนวยความสะดวกครบ  มีโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับจำนวนนักศึกษา









บันทึกการเรียนครั้งที่ 8 วันที่ 27 มีนาคม 2560




ความรู้ที่ได้


สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์
หน่วยครอบครัวของฉัน





หน่วยยานพานะ












หน่วยผักสดสะอาด












เทคนิคที่ใช้

  • คำพูดที่ใช้ในการเกริ่นเรื่องหรือคำถามที่กระตุ้นให้เด็กได้คิดเเละช่วยกันหาคำตอบ 
  • การเก็บเด็ก โดยการร้องเพลง เป็นต้น

  • เทคนิคการเขียน การนั่งที่ไม่บังกระดาน 

  • การใช้คำถามย้ำๆเพื่อดึงดูดความสนใจของเด็กให้เด็กมีสมาธิการสิ่งที่เรียนอยู่

  • สอนตามลำดับขั้นตอนที่ได้เเขนแผนไว้

  • การนับจำนวนเพื่อเปรัยบเทียบ หยิบออก 1 ต่อ 1 เพื่อดูสิ่งที่เหลืออยู่ ถ้าเหลือเเปลว่า สิ่งนั้นมากกว่า 




การนำไปใช้

  • วันเเรกในการสอนควรเขียนบันทึกในอีกชาร์จหนึ่งที่เป็นเเผนผังมายเเม็ปปิ้ง เพื่อเป็นหัวเรื่องเเละทำให้เด็กได้รู้ว่าเรียนเรื่องนี้ไปแล้ว
  • รูปแบบที่จะนำมาใช้ เช่น ตาราง แผนผัง การเเตกความคิดที่เด็กสามารถเข้าใจได้ง่าย
  • การสรุปทบทวนก่อนการจบเรื่องที่สอนเพื่อทบทวนสิ่งที่เด็กได้เรียน




ประเมินตนเอง
 แต่งกายมาเรียนถูกระเบียบ ตั้งใจฟังไม่พูดคุยกันเสียงดัง ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

ประเมินเพื่อน
เพื่อนแต่งกายมาเรียนถูกระเบียบ เ อุปกรณ์ในการจะมาสอนมาเป็นอย่างดีตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังให้ความรู้เพิ่มเติม


ประเมินอาจารย์
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเหมาะสม สอนทำให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้นและถูกต้อง

ประเมินห้องเรียน
อุปกรณ์อำนวยความสะดวกครบ  อากาศเหมาะสมกับการเรียน