วันอังคารที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่ 11 วันที่ 28 เมษายน 2560




หน่วยยานพาหนะ
 สอนเกี่ยวกับ ประโยชน์ของยานพาหนะ ขั้นนำใช้นิทานเพื่อเป็นสิ่งกระตุ้นใหเด็กสนใก่อนเข้าสู่บทเรียน ให้เด็กๆสังเกตรูปภาพเเละช่วยกันตอบว่า ยานพาหนะเเต่ละประเภทมีประโยชน์อะไรบ้าง ทำอะไรได้บ้าง เป็นต้น





หน่วยยานพาหนะ

สอนเกี่ยวกับ ความปลอดภัยจากการใช้ยานพาหนะ ควรทำอย่างไรบ้าง ครูให้เด็กร้องเพลงเเละถามจากเพลงว่า ขึ้นรถเราควรคาดเข็มขัด ขับมอเตอร์ไซค์ควรใส่หมวกกันน็อค เป็นต้น 
จากนั้นให้เด็กออกมาติดภาพ เช่น นั่งรถก็ต้องคาดเข็มขัด ขึ้นเครื่องบินก็ต้องรัดเบลล์ 






หน่วย อาหารหลัก 5 หมู่
 เเต่ละหมู่มีประโยชน์อะไรบ้าง ให้เด็กๆสังเกตจากรูปภาพเเละนิทานที่ครูให้เล่าให้เด็กๆฟัง



สงบเด็ก  ด้วยเพลง

ปลาหมึกหนวดยาว  หนวดยาวตัวขาวน่ารัก

เวลาหยุดพักชอบยักไหล่เล่น

ยักเช้า ยักเย็น ยักเล่นๆ

แล้วก็ยัก ยัก ยัก  ปลาหมึกผูกโบว์







หน่วย สัตว์น่ารัก 
 สอนเกี่ยวกับ สัตว์มี 2 ประเภท ทั้งสัตว์เลี้ยงเเละสัตว์ป่า ท้งสองประเภทมีความเเตกต่างกัน





หน่วย ผักสดสะอาด 
สอนกี่ยวกับวิธีการปลูกผักขั้นตอนในการปลูกผักคะน้าให้เด็กดูวิดีโอและเเบ่งเป็นกลุ่มๆเพื่อช่วยกันปลูกผักคะน้า




หน่วย ผักสดสะอาด 
สอนเกี่ยวกับประโยชน์ของผัก โดยให้เด็กสังเกตจากภาพเเล้วช่วยกันตอบ




หน่วยผักสดสะอาด 
การนำผักมาประกอบอาหาร เป็นผักชุบแป้งทอด มีเเครอท ถั่วฝักยาว เป็นต้น
โดยครูสาธิตขั้นตอนการทำให้เด็กดู 
เเบ่งเป็นกลุ่ม เช่น
 กลุ่มที่1 ผสมแป้ง
 กลุ่มที่ 2 หั่นผัก 
กลุ่มที่ 3 นำผักที่หั่นไปชุบแป้งเเละทอด 







หน่วย กลางวันกลางคืน 
สอนเกี่ยวกับ กลางวันนั้นให้ประโยชน์อย่างไร

เเละอุปกรณ์ที่ควรใช้สำหรับกลางวันเเละกลางคืน เช่น ไฟฉาย ร่ม หมวก เเว่นตา 




การนำไปใช้

 -ในเเต่ละหน่วย วันเเรกในการสอนควรเขียนบันทึกในอีกชาร์จหนึ่งที่เป็นเเผนผังมายเเม็ปปิ้งไว้ เพื่อเป็นหัวเรื่องเเละทำให้เด็กได้รู้ว่าเรียนเรื่องนี้ไปแล้ว

-รูปแบบที่จะนำมาใช้ เช่น ตาราง แผนผัง การเเตกความคิดที่เด็กสามารถเข้าใจได้ง่าย
-การสรุปทบทวนก่อนการจบเรื่องที่สอนเพื่อทบทวนสิ่งที่เด็กได้เรียน


เทคนิคที่ใช้

1.ในขั้นนำเราสามารถนำเพลงมาใช้ได้หรืออาจเป็นคำคล้องจอง นิทาน เป็นต้น เพื่อเป็นส่วนกระตุ้นให้เด็กสนใจในสิ่งที่กำลังจะเรียน
2.การนำสื่อมาใช้ที่หลากหลาย


ประเมินตนเอง
เตรียมตัว   ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน ไม่พูดคุยกันเสียงดัง อุปกรณ์ในการมาสอนเป็นอย่างดี ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

ประเมินเพื่อน
เพื่อนเตรียมความพร้อม ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังให้ความรู้เพิ่มเติม มีเพื่อนบางคนมาเรียนสาย

ประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งกายมาสอนเหมาะสม ให้ความรู้เพิ่มเติมสอดแทรกตลอดการสอนทำให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้นและถูกต้อง

ประเมินห้องเรียน
  มีโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับจำนวนนักศึกษา บรรยากศเหมาะกับการเรียน












บันทึกการเรียนครั้งที่ 10 วันที่ 24 เมษายน 2560




ความรู้ที่ได้


เพื่อนสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์

หน่วยกลางวัน กลางคืน (วันอังคาร)

หน่วยกลางวันกลางคืน สอนเกี่ยวกับ ครูใช้นิทานเป็นขั้นนำในการนำเข้าสู่บทเรียน

กลางวันทำอะไรได้บ้าง กลางคืนทำอะไรได้บ้างชาร์ตเพลงไม่มีสีสัน ตัวหนังสือติดกันเกินไปการนั่งเก้าอี้ ควรนั่งเก้าอี้เล็กในการเล่านิทานควรถามประสบการณ์เดิมของเด็กก่อนถ้าไม่ถามเนื้อหาในเพลงก็ถือว่าเอาแผ่นชาร์ตเพลงมาไร้ประโยชน์







หน่วยยานพาหนะ  (วันอังคาร)

สอนเกี่ยวกับลักษณะของยานพาหนะ
ให้เด็กๆสังเกตรูปภาพเเละบอกลักษณะของยานพหนะ 3 ประเภท ทั้งทางบกทางน้ำเเละทางอากาศ
สังเกตจากภาพต้องดูที่ภาพ  เขียนตัวหนังสือให้ดีๆและต้องสวยหัวกลมตัวเหลี่ยม




หน่วยยานพาหนะ   (วันพุธ)
หน่วยยานพาหนะ สอนเกี่ยวกับ การดูแลรักษายานพาหนะ ให้เด็กสังเกตรูปภาพเเละ
ช่วยกันตอบว่าเเต่ละภาพทำอะไรบ้างต้องชี้จากวาไปซ้าย ทำแม็ปต้องโยงเส้น เขียนลายมือให้สวย เพลงถ้ามีภาพประกอบด้วยจะดี







หน่วยครอบครัวของฉัน (วันพุธ)

หน่วยครอบครัวของฉัน สอนเกี่ยวกับบุคคลในครอบครัวมีใครบ้างเเละ
เเต่ละคนมีหน้าที่อะไรบ้างต้องสอนเด็กก่อน ที่ทำมาถามแต่ประสบการณ์เดิมยังไม่มีการสอน










หน่วยครอบครัวของฉัน (วันพฤหัสบดี)


หน่วย ครอบครัวของฉัน สอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัว เช่น ปู่ย่า ตายาย พ่อเเม่่ พี่น้อง มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ขั้นนำต้องมีการนำอาจนำด้วย นิทาน เพลง คำคล้องจอง เป็นต้น เริ่มต้นความสัมพันธ์ต้องเริ่มต้นจากสิ่งที่ใกล้เรามาที่สุด คือ ตัวเรา > พี่น้อง>พ่อ>แม่ >ปู่ย่า > ตายาย ......








หน่วยอาหารดีมีประโยชน์

หน่วย อาหารหลัก 5 หมู่ ให้เด็กดูภาพเเละช่วยกันตอบว่าอยู่ในหมู่อะไร เช่น หมู่ วิตามิน คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ เป็นต้นและไม่ควรสอนคำคล้องจองติดต่อกันหลายวัน สื่อไม่แข็งแรงและไม่ได้มาตรฐาน










การนำไปใช้
สามารถนำความรู้และเทคนิคต่างๆที่ได้จากการสอนและการคอมเม้นต์จากอาจารย์มาปรับใช้กับตนเองและนำไปปรับใช้ในการสอนได้ในอนาคต
-ในเเต่ละหน่วย วันเเรกในการสอนควรเขียนบันทึกในอีกชาร์จหนึ่งที่เป็นเเผนผังมายเเม็ปปิ้งไว้ เพื่อเป็นหัวเรื่องเเละทำให้เด็กได้รู้ว่าเรียนเรื่องนี้ไปแล้ว
-รูปแบบที่จะนำมาใช้ เช่น ตาราง แผนผัง การเเตกความคิดที่เด็กสามารถเข้าใจได้ง่าย
-การสรุปทบทวนก่อนการจบเรื่องที่สอนเพื่อทบทวนสิ่งที่เด็กได้เรียน



ประเมินตนเอง
เตรียมตัว   ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน ไม่พูดคุยกันเสียงดัง อุปกรณ์ในการมาสอนเป็นอย่างดี ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

ประเมินเพื่อน
เพื่อนเตรียมความพร้อม ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังให้ความรู้เพิ่มเติม มีเพื่อนบางคนมาเรียนสาย

ประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งกายมาสอนเหมาะสม ให้ความรู้เพิ่มเติมสอดแทรกตลอดการสอนทำให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้นและถูกต้อง

ประเมินห้องเรียน
  มีโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับจำนวนนักศึกษา บรรยากศเหมาะกับการเรียน











วันเสาร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่ 9 วันที่ 20เมษายน 2560 (เรียนชดเชย)






ความรู้ที่ได้

สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์

หน่วยอาหารดีมีประโยชน์










  • ร้องเพลงในขั้นนำเเละถามเด็กๆว่าในเนื้อเพลงมีประเภทอะไรบ้าง
  • ครูให้เด็กๆดูรูปภาพอาหารในหมู่ต่างๆ จากนั้นครูให้เด็กนับ1-5 เพื่อเเบ่งกลุ่มเด็ก
  • เด็กนั่งเป็นกลุ่ม ครูก็เเจกจิ๊กซอล
  • ให้เด็กช่วยกันตอรูปภาพอาหารในหมู่ๆต่างๆ 
  • จากนั้นครูก็สรุปสิ่งที่เด็กได้เรียนรู้เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่








  • ครูอ่านคำคล้องจองให้เด็กๆฟัง ในคำคล้องจองมีชื่ออาหารอะไรบ้าง
  • ครูขอตัวเเทนเด็กๆออกมาหยิบภาพเพื่อเเบ่งตามหมวดหมู่และให้เด็กติดภาพ .
  • ครูแบ่งตารางเป็น 2 ช่อง คือ คาร์โบไฮเดรต กับโปรตีน
  • จากนั้นครูก็สรุปให้เด็กฟังว่ามีอะไรบ้าง

หน่วยข้าว




  • โดยครูร้องเพลงข้าวให้เด็กๆฟัง
  • จากนั้นครูอธิบายว่าข้าวมีสายพันธ์อะไรบ้าง
  • เเละให้เด็กๆได้สังเกตความเเตกต่างของข้าวเเต่ละสายพันธุ์


  • ข้อเสนอแนะ
  • ข้าวควรเอาใส่ถุง แล้วนับจำนวน พร้อมกับติดตัวเลขกำกับ
  • แยกสายพันธ์ข้าว นับจำนวนสายพันธ์ไหนหมดทีหลังแสดงว่ามีจำนวนมากว่า








  • ครูอ่านคำคล้องจองให้เด็กๆฟัง
  • จากนั้นให้เด็กๆสังเกตความเเตกต่างระหว่างข้าวสารเเละข้าวเหนียว 
  • ให้เด็กๆช่องกันบอกลักษณะของข้าว ทั้ง 2 ชนิด
  • จากนั้นครูเปรียบเทียบให้เด็กเห็นความเเตกต่างของข้าวทั้ง 2 ชนิด





หน่วยผักสดสะอาด





  • ดยครูร้องเพลงผักสดสะอาดให้เด็กๆฟัง
  •  ให้เด็กๆช่วยกันบอกในเนื้อเพลงมีส่วนประกอบของผักมีอะไรบ้าง เช่น ราก ลำต้น ดอก ใบ
  • จากนั้นครูนำแครอทเเละผักบุ้งมาให้เด็กๆสังเกตความเเตกต่างเเละเปรียบเทียบให้เด็กๆได้เด็กลักษณะของผักทั้ง 2 ชนิด








การนำไปใช้
นเเต่ละหน่วยวันเเรกในการสอนควรเขียนบันทึกในอีกชาร์จหนึ่งที่เป็นเเผนผังมายเเม็ปปิ้งไว้เพื่อเป็นหัวเรื่องเเละทำให้เด็ฏได้รู้ว่าเรียนเรื่องนี้ไปแล้วรูปแบบที่จะนำมาใช้ เช่น ตาราง แผนผัง การเเตกความคิดที่เด็กสามารถเข้าใจได้ง่ายการสรุปทบทวนก่อนการจบเรื่องที่สอนเพื่อทบทวนสิ่งที่เด็กได้เรียน
สามารถนำความรู้และเทคนิคต่างๆที่ได้จากการสอนและการคอมเม้นต์จากอาจารย์มาปรับใช้กับตนเองและนำไปปรับใช้ในการสอนได้ในอนาคต



เทคนิคที่ใช้
  • เรื่องของการใช้เพลง ให้นำเพลงหรือการนำคำคล้องจองที่เกี่ยวกับหน่วยที่เรียนเพื่อดึงดูดความสนใจเด็กๆ
  • การใช้ำคำพูดหรือคำที่เหมาะสมเพื่อที่เด็กจะได้เข้าใจง่ายขึ้น
  • การนำสื่อมาช่วยในการสอนจะช่วยกระตุ้นให้เด็กอยากเรียนรู้มากขึ้น



ประเมินตนเอง
  ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน ไม่พูดคุยกันเสียงดัง เตรียมตัว พร้อมในการมาสอน

ประเมินเพื่อน
เพื่อนเตรียมความพร้อม ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังให้ความรู้เพิ่มเติม มีเพื่อนบางคนมาเรียนสาย

ประเมินอาจารย์
อาจารย์แต่งกายมาสอนเหมาะสม ให้ความรู้เพิ่มเติมสอดแทรกตลอดการสอนทำให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้นและถูกต้อง

ประเมินห้องเรียน
  อุปกรณ์อำนวยความสะดวกครบ  มีโต๊ะเก้าอี้เพียงพอกับจำนวนนักศึกษา









บันทึกการเรียนครั้งที่ 8 วันที่ 27 มีนาคม 2560




ความรู้ที่ได้


สอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์
หน่วยครอบครัวของฉัน





หน่วยยานพานะ












หน่วยผักสดสะอาด












เทคนิคที่ใช้

  • คำพูดที่ใช้ในการเกริ่นเรื่องหรือคำถามที่กระตุ้นให้เด็กได้คิดเเละช่วยกันหาคำตอบ 
  • การเก็บเด็ก โดยการร้องเพลง เป็นต้น

  • เทคนิคการเขียน การนั่งที่ไม่บังกระดาน 

  • การใช้คำถามย้ำๆเพื่อดึงดูดความสนใจของเด็กให้เด็กมีสมาธิการสิ่งที่เรียนอยู่

  • สอนตามลำดับขั้นตอนที่ได้เเขนแผนไว้

  • การนับจำนวนเพื่อเปรัยบเทียบ หยิบออก 1 ต่อ 1 เพื่อดูสิ่งที่เหลืออยู่ ถ้าเหลือเเปลว่า สิ่งนั้นมากกว่า 




การนำไปใช้

  • วันเเรกในการสอนควรเขียนบันทึกในอีกชาร์จหนึ่งที่เป็นเเผนผังมายเเม็ปปิ้ง เพื่อเป็นหัวเรื่องเเละทำให้เด็กได้รู้ว่าเรียนเรื่องนี้ไปแล้ว
  • รูปแบบที่จะนำมาใช้ เช่น ตาราง แผนผัง การเเตกความคิดที่เด็กสามารถเข้าใจได้ง่าย
  • การสรุปทบทวนก่อนการจบเรื่องที่สอนเพื่อทบทวนสิ่งที่เด็กได้เรียน




ประเมินตนเอง
 แต่งกายมาเรียนถูกระเบียบ ตั้งใจฟังไม่พูดคุยกันเสียงดัง ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม

ประเมินเพื่อน
เพื่อนแต่งกายมาเรียนถูกระเบียบ เ อุปกรณ์ในการจะมาสอนมาเป็นอย่างดีตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังให้ความรู้เพิ่มเติม


ประเมินอาจารย์
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเหมาะสม สอนทำให้นักศึกษาเข้าใจมากขึ้นและถูกต้อง

ประเมินห้องเรียน
อุปกรณ์อำนวยความสะดวกครบ  อากาศเหมาะสมกับการเรียน